ความเป็นมา
เมื่อ พ.ศ. 2466 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่6 ทรงนำมงคลสูตรมาทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทร้อยกรองประเกทคำฉันท์ โดยใช้คำประพันธ์ 2 ชนิด คือกาพย์ฉบัง 16 และอินทรวิเชียรฉันท์ 11 ทรงนำคาถาภาษาบาลีจากพระไตรปิฏกตั้ง แล้วแปลถอดความเป็นร้อยกรองภาษาไทย ได้ถูกต้องตรงตามบังคับในฉันทลักษณ์ โดยไม่เสียเนื้อความจากพระคาถาบาลี การจัดวางลำดับของมมงคลแต่ละข้อก็เป็นไปตามที่ปรากฏอยู่ในพระคาถาเดิม ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพระอัจริยภาพทางด้านภาษาได้อย่างดี
ผู้แต่ง
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ลักษณะคำประพันธ์
กาพย์ฉบัง 16
และอินทรวิเชียรฉันท์11
เรื่องย่อ
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสถึงมงคลสูงสุด
38 ประการ
ไว้ในมงคลสูตรซึ่งสำคัญบทหนึ่งในพระพุทธศาสนา มงคลสูตรปรากฏในพระไตรปิฏก
ขุททกนิกาย หมวดทขุททกปาฐะ
มงคล
38 ประการ
1. ไม่คบคนพาล
2. คบบัณฑิต
2. คบบัณฑิต
3. บูชาบุคคลที่ควรบูชา
4. อยู่ในถิ่นอันที่เหมาะสม
4. อยู่ในถิ่นอันที่เหมาะสม
5. มีบุญวาสนามาก่อน
6. ตั้งตนไว้ชอบ
6. ตั้งตนไว้ชอบ
7. พหูสูต
8. รอบรู้ในศิลปะ
8. รอบรู้ในศิลปะ
9. มีวินัย
10. มีวาจาสุภาษิต
10. มีวาจาสุภาษิต
11. บำรุงบิดามารดา
12. เลี้ยงดูบุตร
12. เลี้ยงดูบุตร
13. สงเคราะห์ภรรยา-สามี
14. ทำงานไม่ให้คั่งค้าง
14. ทำงานไม่ให้คั่งค้าง
15. ให้ทาน
16. ประพฤติธรรม
16. ประพฤติธรรม
17. สงเคราะห์ญาติ
18. ประกอบการงานที่ไม่มีโทษ
18. ประกอบการงานที่ไม่มีโทษ
19. งดเว้นจากบาป
20. สำรวมจากการดื่มน้ำเมา
20. สำรวมจากการดื่มน้ำเมา
21. ไม่ประมาทในธรรม
22. มีความเคารพ
22. มีความเคารพ
23. มีความถ่อมตน
24. มีความสันโดษ
24. มีความสันโดษ
25. มีความกตัญญู
26. ฟังธรรมตามกาล
26. ฟังธรรมตามกาล
27. มีความอดทน
28. เป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย
28. เป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย
29. เห็นสมณะ
30. สนทนาธรรมตามกาล
30. สนทนาธรรมตามกาล
31. บำเพ็ญตบะ
32. ประพฤติพรหมจรรย์
32. ประพฤติพรหมจรรย์
33. เห็นอริยสัจ
34. ทำนิพพานให้แจ้ง
34. ทำนิพพานให้แจ้ง
35. จิตไม่หวั่นไหวในโลกธรรม
36. มีจิตไม่เศร้าโศก
36. มีจิตไม่เศร้าโศก
37. มีจิตปราศจากกิเลส
38. มีจิตเกษม
38. มีจิตเกษม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น